Time မဂၢဇင္းအား ျပည္တြင္း၌ ပိတ္ပင္ေၾကာင္း ေၾကညာ
ေရႊဟသၤာသတင္းဌာန
၂၀၁၃
ခုနွစ္၊ ဇူလိုင္လ (၁) ရက္ေန့ထုတ္ တိုင္းမ္ မဂၢဇင္း ၊ အတဲြ (၁၈၂)၊ အမွတ္ (၁) ပါ The Face of Buddhist Terror ေဆာင္းပါးကို ျပည္တြင္းမွာ ပိတ္ပင္လုိက္ပါတယ္၊
အေရးေပၚကာလ စီမံခန္႔ခဲြေရး ေကာ္မတီ
ေၾကညာခ်က္အမွတ္ ၁/၂၀၁၃
၁၃၇၅ ခုနွစ္၊ နယုန္လျပည့္ေက်ာ္ ၂ ရက္
(၂၀၁၃ ခုနွစ္၊ ဇြန္လ ၂၅ ရက္)
၂၀၁၃ ခုနွစ္၊ ဇူလိုင္လ (၁) ရက္ေန႔ထုတ္ တိုင္းမ္ မဂၢဇင္း၊
အတဲြ(၁၈၂)၊ အမွတ္(၁)
နွင့္စပ္လ်ဉ္း၍ ေၾကညာျခင္း
၂၀၁၃ ခုနွစ္၊ ဇူလိုင္လ (၁) ရက္ေန႔ထုတ္ တိုင္းမ္ မဂၢဇင္း ၊
အတဲြ (၁၈၂)၊ အမွတ္ (၁) တြင္ သံဃာေတာ္ ဦးဝီရသူအား မ်က္နွာဖံုးတင္၍ The Face of Buddhist Terror ေဆာင္းပါးကို ေဖာ္ျပခဲ့သည္။
တိုင္းမ္မဂၢဇင္း၏ ေဖာ္ျပခ်က္သည္ ဗုဒၶဘာသာ သာသာနာအေပၚ
အထင္အျမင္ လဲြမွားေစျပီး နိုင္ငံေတာ္မွ အေကာင္အထည္ေဖာ္ ေဆာင္ရြက္ေနသည့္
ဘာသာေပါင္းစံုတို႔ အၾကား အျပန္အလွန္ ယံုၾကည္မႈ တည္ေဆာက္ေနျခင္းကိုလည္း
ထိခိုက္ေစနိုင္ေျကာင္း ေတြ ့ရိွရပါသည္။
ထို ့ေၾကာင့္ အေရးေပၚကာလ စီမံခန္ ့ခဲြေရး ဗဟိုေကာ္မတီ၏
လုပ္ငန္း တာဝန္နွင့္ အညီ လူမ်ဳိးေရး၊ ဘာသာေရး အဓိကရုဏ္းမ်ား
ထပ္မံ မျဖစ္ပြား ေစေရးအတြက္ ကာကြယ္နိုင္ရန္ ၂၀၁၃ ခုနွစ္၊ ဇူလိုင္လ (၁) ရက္ေန႔ ထုတ္
တိုင္းမ္ မဂၢဇင္း ၊ အတဲြ(၁၈၂)၊ အမွတ္(၁)ပါ The Face of Buddhist Terror ေဆာင္းပါးကို ျပည္ေထာင္စု သမၼတ ျမန္မာနိုင္ငံေတာ္အတြင္း
မူရင္းစာေစာင္အတိုင္း ျဖစ္ေစ၊ မိတၱဴ ပြား၍ ျဖစ္ေစ ထုတ္လုပ္ျခင္း၊ ေရာင္းခ်ျခင္း၊
ျဖန္ ့ခိ်ျခင္း၊ လက္ဝယ္ထားရိွျခင္း မျပဳလုပ္ရန္ အမ်ားျပည္သူ အက်ဳိးငွာ
ေၾကညာလိုက္သည္။
အမိန္႔အရ
အတြင္းေရးမႉး
အေရးေပၚကာလစီမံခန့္ခဲြေရးဗဟိုေကာ္မတီ
http://www.moi.gov.mm/announcement/25/06/2013/id-463
ဖယ္ဒရယ္ ျပည္ေထာင္စု ပါတီ (FUP) ဖြဲ႔စည္း တည္ေထာင္ျခင္း အေပၚ ညီညြတ္ေသာ တိုင္းရင္းသား လူမ်ိဳးမ်ား ဖယ္ဒရယ္ ေကာင္စီ (UNFC) က ခ်ီးက်ဴး ဂုဏ္ျပဳေၾကာင္း သေဘာထား ထုတ္ျပန္ခ်က္
ในรัฐมอญได้เปิดสำนักงานคณะกรรมการอิสระ ที่จะค่อยเฝ้าดูสถานการณ์ เรื่องหยุดยิง
ศุกร์
ที่ 7 มิ.ย 56: สำนักข่าวสารหงส์ทอง
ขณะที่กำลังนำเสนอ
เพื่อที่จะได้เปิดคณะกรรมการ (ภาพ – มิ่นมิ่นลัด)
กรรมการคอยเฝ้าดูสถานการณ์เรื่องหยุดยิง
ที่เปิดขึ้นมาในตอนนี้นั้น เพื่อที่จะคอยเฝ้าดูและสังเกตการในข้อตกลงของรัฐบาลกับกลุ่มที่หยุดยิงเหล่านั้น
จึงต้องเปิดสำนักงานคณะกรรมการนี้ขึ้นมาอย่างอิสระ ดร.อ่องไนอู
สส.ของรัฐมอญนั้นกล่าว
“ สำหรับข้อตกลง
ที่ตกลงกันไว้นั้น แต่ละฝ่ายได้ละเมิดข้อตกลงกันกันอยู่ สำรวจได้จากข่าวสารอีกที กรรมชุดนี้ได้เปิดเผยให้กับทั้งสองฝ่ายทราบกัน แล้วเมื่อนั้น การกระทำที่ละเมิดข้อตกลงนั้น
คงจะได้ลดลงไปบ้างรับปากไว้อย่างนั้น”
ต้องเฝ้าระวังขั้นตอนไหน
เร็วนี้ทางคณะกรรมการชุดนี้ยังไม่ได้ปรึกษาหารือกัน ในการเปิดสำนักงานคณะกรรมการชุดนี้นั้น ได้คัดเลือกเอาบุคคลที่บริสุทธิ์ ที่มีจิตอาสามีจุดประสงค์
จึงได้ก่อตั้งขึ้นมา แต่ว่าสำหรับคณะกรรมการชุดนี้ กลุ่มติดอาวุธกับรัฐบาลจะมีเจตนารมอย่างไรนั้น
ยังไม่รู้
งานประชุมเพื่อที่จะเปิดคณะกรรมการชุดนี้นั้น
ได้จัดขึ้นที่โรงแรม ชวยเมียดมอทุน
จ.เมาะละแหม่ง มีเหล่าตัวแทนเข้าร่วมประมาณ 200 กว่าคน
จากพรรคการเมืองต่างๆ ,
จากกลุ่มเคลื่อนไหวด้านสังคมของมนุษย์ CBO ทั้งหลาย ,
จากกลุ่มภาษาวัฒนธรรมของมอญกับกะเหรี่ยง และตัวแทนจากสภา รวมทั้งบุคคลที่บริสุทธิ์
ที่มีจิตอาสาก็เข้าร่วมด้วย
กรรมการคอยเฝ้าดูสถานการณ์
เรื่องหยุดยิง (Ceasefire Monitoring)ชุดนี้
จากเหล่าตัวแทนทั้งหลาย ที่เข้าร่วมงานประชุมดังกล่าวนี้ ได้คัดเลือกนายกขึ้นมา 5 ท่าน กรรมการ 9 คน แล้วก่อตั้งขึ้นมา พอเวลาดำเนินการ
ก็จะจดบรรทึกเกี่ยวกับการีงานและหน้าที่เอาไว้
สำหรับสิ่งที่สำรวจได้และพบเห็นก็จะกลับไปนำเสนอให้กับกลุ่มที่เกี่ยวข้องเหล่านั้นด้วย
ด้วยลำดับหน้าที่มีอยู่อย่างนี้
ในช่วงนี้
คณะที่คอยเฝ้าสถานการณ์เรื่องการหยุดยิง
เพื่อที่จะได้ช่วยยับยั้งทั้งสองกลุ่ม(รัฐบาลกับกลุ่มหยุดยิง) จากการหยุดยิงที่อ่อนไหว
จนนำไปสู่เรื่องสันติภาพที่ถาวร
เปิดเผยอย่างนี้ เป็นงานที่ดีงานหนึ่งเลยที่เดียว
โดยที่กรรมการดังกล่าวนี้รับไว้อย่างนั้น
ด้วยเหตุนั้นเอง กรรมการดังกล่าวนี้ ระหว่างรัฐบาลในรัฐมอญ
กับกลุ่มติดอาวุธกลุ่มต่างๆ เช่น พรรคมอญใหม่ MNSP , DKBA KNU , BGF เกิดอะไรขึ้นบ้าง จึงทำการสำรวจและคอยเฝ้าดูอย่างใกล้ชิด กลุ่มติดอาวุธนั้น
ได้ทำข้อตกลงกับรัฐบาลไว้แล้ว จึงได้หยุดยิงอยู่
กับคำที่ตกลงกันไว้นั้น ทำเป็นประสบการณ์ แล้วศึกษาต่อไป
หากพบการละเมิดในข้อตกลงนั้น ตามที่พบเห็นเท่านั้นที่จะเปิดเผยต่อไป
พรรคมอญใหม่นั้น เมื่อปี 1995 นั้น ได้หยุดยิงกับรัฐบาล ในปี
2010 เสียเรื่องการหยุดยิงไป ในปี 2012 นั้น
ก็ได้ทำการหยุดยิงกับรัฐบาลอีกครั้ง
พรรคชนชาติกะเหรี่ยง KNU เอง ในปี 2013 นั้น
ได้ลงนามทำการหยุดยิงกับรัฐบาลไว้แล้ว
กกล. DKBA เอง
ในช่วงปลายปี 2012 ก็ได้หยุดยิงกับรัฐบาลเช่นกัน กกล.รัษาชายแดน BGF ที่อยู่ใต้บังคับบัญชาของรัฐบาลนั้น
ทางรัฐบาลได้เปิดไว้ให้ในปี2010 นั้นเอง.....
ได้ปิดกั้นเรื่องธุรกิจกับประเทศพม่านั้น ILO จะเปิดให้
อาทิตย์
ที่ 9 มิ.ย 56: สำนักข่าวสารหงส์ทอง
นางตั่นตั่นเท
ขณะที่กำลังเข้าประชุมอยู่ ILO (ภาพ - AFFM)
เพื่อที่จะยกเลิก
Sanction ที่กระทำการปิดกั้นเรื่องธุรกิจแด่ประเทศพม่านั้น พรุ่งนี้วันที่ 10 มิ.ย 56
ในที่ประชุมของแรงงานที่เกี่ยวกับประเทศต่างๆนั้น ทาง ILO
เพื่อที่จะตัดสินมีอยู่ ดร.ตั่นตั่นเท
ประธาน กลุ่มชาวนากับชาวเกษตรของประเทศพม่า
ที่เข้าประชุม ILO นั้นกล่าว
“ พรุ่งนี้ วันที่ 10 มิ.ย 56
นั้น ขอให้ยกเลิกเกี่ยวกับ Sanction ประเทศพม่านั้น จะทำการเรียกร้องอย่างแน่นอน ในเรื่องนี้ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการหรือพวกแรงงาน
แม้แต่ตัวแทนของรัฐบาลก็มีความคิดเห็นเหมือนกัน
และทั้งหมดมีความคิดเห็นตรงกัน
ด้วยเหตุนั้นเอง วันที่ 13-14 มิ.ย 56 นี้ มีแนวโน้มที่จะเปิดให้ ทาง ILO
เอง มีความต้องการที่จะปลด Sanction อยู่บ้าง
หากเป็นเช่นนั้น พวกนายทุน เจ้าของกิจการด้านธุรกิจจากประเทศต่างๆ
ร่วมทำกับพวกเรา พวกแรงงานจะหลุดพ้นจากตกงานอย่างแน่นอน
และจะลงเอยด้วยดี” ต่างกล่าวกันอย่างนี้
ในการประชุมนั้น เรื่มจากวันที่10
– 14 มิ.ย 56 จะสัมณาหารือเกี่ยวกับประเทศพม่า
ในประเทศพม่านั้น นอกจากเรื่องที่ถูกปิดด้านธุรกิจนี้แล้ว
ไฟฟ้าก็ใช้ไม่เพียงพอ
ถนนหนทางที่จะไปสู่ท่ารถก็ไม่ราบรื่น
ด้านสื่อสารข่าวสารก็ล่าช้า ไม่บรรลุเป้าหมาย เกี่ยวกับระบบธนาคารก็ไม่ทันสมัย เหมือนกับยับยั้งนักลงทุนของต่างประเทศไว้
ณ.วันนี้
สิ่งที่กล่าวมาข้างบนนั้น จะได้ดีขึ้นไป พยายามแก้ไขอยู่ แม้ประตูธุระกิจจะเปิดแล้วก็ตาม
แต่ระบบการปกครองของระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงยังไม่มี ประเทศจะได้เจริญขึ้นมา
มันคงไม่ง่ายนัก
ด้วยเหตุนั้น
ในการลงทุนกับต่างประเทศ
งานโครงการของรัฐบาลต้องเป็นรูปแบบที่ชัดเจน เพื่อให้ผู้คนได้เห็นความโปร่งใสในการพัฒนาประเทศนั้น
อาจจะสัมฤทธิ์ผลก็ได้
“ ย้อนกลับไปมองประเทศพม่าแล้ว ในยามนี้ เกี่ยวกับไฟฟ้า , ด้านกิจการของธนาคาร
,
เรื่องถนน และเรื่องการสื่อสารย่าวสาร มันยังไม่เป็นไปตามความประสงค์ ด้วยเหตุนั้น ความคิดเห็นของผมนั้น ในการลงทุนนี้ เพื่อให้ผู้คนได้เห็นกันอย่างชัดเจน
จะได้เห็นความโปร่งใสนั้น ต้องพยายามให้มาก
เกี่ยวกับการลงนามเซนสัญญา ต้องคิดให้รอบคอบ ดีร้ายจะเกิดขึ้นอย่างไร ต้องประเมนออกมาให้เห็นด้วย” ดร.ตั่นตั่นเท กล่าว
ตัวแทนจากกลุ่มแรงงานที่เกี่ยวกับประเทศต่างๆ
และตัวแทนของรัฐบาลของประเทศต่างๆเอง
ที่พบเห็นความต่างอีกแบบ
เชิญให้ทานอาหารเย็นนั้นอีกอย่าง
ได้ผูกมิตรกับกลุ่มตัวแทนของแรงงานประเทศพม่า ที่สำคัญ ผู้นำทั้งหลายจาก ILO เองก็ต้อนรับเช่นกัน
สำหรับประเทศพม่าแล้ว ดร.ตั่นตั่นเท
ซึ่งเป็นตัวแทนของพรรคแรงงานอิสระ ที่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นครั้งแรก แล้วในการเข้าประชุมของ ILO นั้น
ได้เป็นตัวแทนคนแรก คุณหญิง
ดร.ตั่นตั่นเทนั้น เป็นผู้ที่เลือกตั้งมาจากการประชุม Forum
ของแรงงานทั่วทั้งประเทศพม่า ที่จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 เม.ย ปี 2013 นั้นเอง
งานสัมณา
ILO นี้ เรื่มจัดตั้งแต่วันที่ 4 นั้นแล้ว
และจากวันที่ 10 – 14 มิ.ย 56 นั้น เกี่ยวกับประเทศพม่าเท่านั้น รัฐบาลพม่านี้
เนื่องจากปิดกั้นเรื่องของแรงงานเหล่านี้เอง เมื่อปี 2000 นั้น ทาง ILO จึงได้ปิดกั้นเรื่องธุรกิจกับประเทศพม่า
จากนั้น ILO ได้เรียกร้องกับรัฐบาลประเทศพม่า
จะต้องร่างกฎหมายแรงงานออกมา แล้ว
ประมาณเดือน ต.ค ปี 2011 นั้น รัฐบาลพม่าได้ร่างกฎหมายดังกล่าวนั้นได้ กฎหมายวิธีการ เพื่อจะได้ดำเนินงานนั้นเอง และได้ประกาศออกมาในเดือน ม.ค ปี 2012 นั้นเอง
ด้วยเหตุนั้น
ILO เอง ได้เห็นการปฏิรูปของรัฐบาลพม่า
ที่ทำการเปิดประตูของธุรกิจเหมือนเช่นตอนนี้ ที่ต้องเปิดประตูให้เช่นนี้นั้น
เพื่อจะได้เหมือนกับประเทศอื่นๆ จึงต้องตัดสินใจในการประชุม ILO ที่มีตัวแทนนักธุรกิจและตัวแทนแรงงานของรัฐบาลประเทศต่างๆอีกด้วย
ขณะที่เริ่มทำการปิดธุรกิจกับประเทศพม่านั้น ก็มีคณะต้วแทนนี้เอง ที่ได้มีการตกลงกันไว้.....
เสียงของชาติพันธุ์กับ การสัมณาที่เปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาในประเทศพม่า
อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:จันทร์ ที่ 10 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
ในงานสัมณาการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาของประเทศพม่านั้น ทางฝ่ายตัวแทนของชาตพันธุ์ได้นำเสนอเพื่อที่จะได้รับอนุญาตให้เข้าไปสอนภาษาชาติพันธุ์ /ภาษาถิ่น (ภาษาแม่)ในชั้นประถม ของโรงเรียนรัฐบาลนั้น ตัวแทนยอมรับและสนับสนุนเข้าร่วมการสัมณาด้วยจำนวนเกือบ 100 % บุคคลที่เข้าร่วมการสัมณาคนหนึ่งนั้นกล่าว
“ ในระดับชั้นประถมของโรงเรียนรัฐบาลนั้น ภาษาของชาติพันธุ์/ภาษถิ่น(ภาษาแม่) แต่ละภาษาควรต้องมีการเรียนการสอนด้วย ได้นำเสนอไว้อย่างนี้ ได้พบว่ามีตัวแทนที่สนับสนุนประมาณ 95 % หากจะส่งเสริมสิทธิ์ของชาติพันธุ์แล้ว ในรัฐของตน ควรต้องได้รับสิทธิ์ในการสอนอย่างเป็นระบบตามกฎหมาย ” นายอ่องทู ตัวแทนจากกลุ่มเจรัก เรื่องการศึกษาของรัฐมอญนั้นกล่าว
ด้วยเหตุนั้น เพื่อที่จะได้ใส่ภาษาถิ่นในระดับชั้นประถมในโรงเรียนของรัฐบาลนั้น นายจะนูโมน ประธานพรรคประชาธิปไตย แห่งรัฐมอญ ที่เคยเป็นหน.ด้านการศึกษา ที่เคยเป็น ผอ.ด้านการศึกษาของรัฐบาล ในประเทศพม่า และระดับชั้นล่างก็ได้นำเสนอ เรื่องการสัมณานั้นเช่นกัน
“ เด็กๆของชาวชาตพันธุ์ที่อยู่ในพื้นที่ของกลุ่มชาติพันธุ์เหล่านั้น ที่ต้องเรียนภาษาพม่าอยู่นั้น ยังเป็นอุปสรรคอยู่มาก ด้วยเหตุนั้น ในระดับชั้นประถมนั้น นอกจากภาษารัฐบาลพม่า กับภาษาอังกฤษแล้ว ควรต้องมีภาษาแม่ของตนต้องร่วมกันจัดการเรียนการสอนเป็นระบบสามภาษา (Tris-language Teaching System)ด้วย”
ความต้องการของรัฐบาลพม่านั้น ตามโครงสร้างของการศึกษา ด้วยระบบของรัฐบาล ที่สอนอยู่นั้นเอง แปลภาษาไปตามเสียงนั้นเท่านั้น แล้วให้กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาเล่าเรียนไปตามนั้น ด้วยเหตุนั้น ในพื้นที่ของชาติพันธุ์ เพื่อที่จะได้เรียนรู้ไปตามกระบวนการนั้นๆ ทางรัฐบาลได้จัดเตรียมระบบของหนังสือพม่า สอนด้วยตัวอักษรของกลุ่มชาติพันธุไว้เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากมีการเตรียมการไว้แล้วนั้นเอง
ในการที่กลุ่มชาติพันธุ์นำเสนอเรื่องสิทธิในการเรียนการสอนภาษาถิ่น(ภาษาแม่) นั้นผู้คนชอบกันมากก็ว่าได้
แต่ว่ารัฐบาลพม่าได้แปลวิธีการเรียนการสอนด้วยภาษาถิ่นของชาติพันธุ์ ในตอนนี้นั้น เป็นการทำลายหนังสือภาษาของชาติพันธุ์ ใช่ว่าจะรู้ หากไม่ทบทวน ไม่ใส่ใจความเป็นไปของโวหาร คำกลอน และความเป็นไปที่สร้างตำถามเหล่านั้นไว้แล้ว สอนไป ก็จะทำให้หนังสือภาษาถิ่น(ภาษาแม่)ของชาติพันธุ์ ผิดเพี้ยนไปหมดเป็นแน่ นักวิชาการด้านภาษาของชาติพันธุ์ต่างพากันกล่าว
เกี่ยวกับเรียนการสอนของชาติพันธุ์นั้นแล้ว ในงานสัมณานี้ เนื่องจากมีคนให้การสนับสนุนมากนั้นเอง แทนที่รัฐบาลต้องจัดระบบการเรียนการสอนนั้น ควรจะมอบให้กลุม่ชาติพันธุ์จัดการเรียนการสอนเอง นักวิชาการกลุ่มชาติพันธุ์ให้ความคิดเห็นไว้ แต่ทางผู้คัดค้านพูดไว้นั้น -
“ ชาวพม่าที่อยู่ตามรัฐเหล่านั้น ต้องเรียนภาษาของชาติพันธุ์ของพวกเขาบ้างหรือเปล่า หากต้องเรียนด้วยแล้ว เด็กพม่าเหล่านั้นไม่ยากเกินไปหรือ ได้วิภาควิจารกันอยู่นี้แล้ว ฝ่ายชาติพันธุ์เอง พูดกันอย่างไรนั้น ไม่ดูบ้างหรือที่ต้องถูกบังคับให้เรียนภาษาพม่าอย่างนั้น” แต่ละฝ่ายได้มีการถกเถียงและพากันวิภาควิจารกัน ควรต้องทบทวนด้วยว่า กลุ่มชาติพันธุ์นั้นต้องทนอยู่เป็นเวลานานนับปี ต่างพากันวิจาร
งานสัมณานี้ จากลุ่มจารักด้านวิชาการทั่วประเทศพม่า เป็นเจ้าภาพแล้วจัดงานสัมณาเป็นเวลาสองวัน(8 – 9 มิ.ย 56) ที่โรงเรียนผู้พิการทางสายตา(โรงเรียนคนตาบอด) ที่อยู่ใน คะวีชัน อ.เมืองมะยันกง ภาคย่างกุ้ง
ในงานสัมณาดังกล่าวนี้ ตัวแทนจากพื้นที่ต่างกับรัฐ 14 คือ ตัวแทนของชาติพันธุ์ , ตัวแทนจากกลุ่มเกี่ยวข้องกับการศึกษา บรรดาครูทั้งหลาย , หัวหน้าด้านการศึกษา , ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย , ตัวแทนจากกลุ่มด้านภาษาและวัฒนธรรมทั้งหลายก็เข้าร่วมด้วย รวมตัวแทนที่เข้าร่วมทั้งหมดประมณา 1,000 กว่าคน
ในวันที่ 10 ต.ค ปี 2012 นั้น เริ่มตั้งองค์กร จารัก ด้านการศึกษาทั่วประเทศ ด้วยที่เป็นสมาชิกนั้น องค์กร จารักด้านการศึกษา NED องค์กรสมาคมนักศึกษา องค์กรสมาคม ครู คณะสร้างสันติภาพ และ เคลื่อนไหวด้านมนุษย์อย่างชัดเจนของปี 88 พรรคลุป่องติ๊ด ประชาธิปไทยใหม่ กลุ่ม ครู อาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งหลาย กลุ่มพระสงฆ์พุทธศาสนาทั้งหลาย กลุ่มมหาวิทยาลัยธรรม และ โรงเรียนคริตส์ กลุ่มด้านการศึกษาทั้งหลาย จากชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านต่างๆ ก็เข้าร่วมด้วยเช่นกัน.....
เพื่อที่จะได้ที่ทำกินที่ถูกยึดไป คืนกลับมานั้น AFFM พยายามตามกระบวนกฎหมายอยู่
จันทร์ ที่ 10 มิ.ย 56: สำนักข่าวสารหงส์ทอง
องค์กรชาวนากับองค์กรเกษตรของประเทศพม่าหรือ AFFM นั้น เกี่ยวกับที่ทำกินที่ถูกยึดไปนั้น เพื่อที่จะได้เอาคืนกลับมาอีกนั้น ตามกระบวนการด้านกฎหมายเท่านั้น พยายามอำนวยต่อไป ผู้รับหน้าที่ในสำนักงานด้านอำนาจสิทธิ์ของชาวนา หรือ AFFMนั้นกล่าว
“ ตามกระบวนการกฎหมายเท่านั้น ที่นำเสนอขึ้นไปเป็นขั้นตอนๆ แล้วจะไกล่เกลี่ยกันต่อไป เรื่องนี้เกี่ยวเนื่องกับกฎหมาย แล้วเชื่อมโยงกับทนายความ จึงได้เสนอต่อไป เร็วๆนี้แม้จะพยายามทำให้ทั่วทั้งประเทศ ไม่ได้ แต่จะพยายามขยายต่อไปอย่างช้าๆอีกเป็นแน่”
เกี่ยวกับการยึดที่ทำกินนั้น บางกรณีก็คลี่คลายลงไปบ้างแล้ว ตอนนี้ อูซอเท(สมาชิกของสมาคม) เป็นชาวบ้าน บ้านเยลาเล อ.เมือง มะอูปิน ภาคเอราวดี ที่ถูกยึดสระเลี้ยงปลากับที่ทำกินนั้น ไปแจ้งไว้ เพื่อที่จะได้รับการชดเชยนั้น มีอยู่ เร็วๆนี้ช่วยดำเนืนการเรื่องนั้นอยู่
อูซอเท นั้น ทั้งที่ทำกินและสระเลี้ยงปลามีอยู่ประมาณ 4.179 เอเคอร์ อยู่ไกล้กับสถานีรถไฟ ซีริมะไย ย่าน ที่ 14 อ.เมืองไล ภาคย่างกุ้ง ที่ถูกยึดที่ทำกินไป หนังสือแจ้งนั้น ได้ส่งให้กับ (ก.) ประธานกรรมการด้านการสอบสวนสืบสวน เกี่ยวกับที่ดินทำกิน (ข.) ส่งให้กับ อูอ่องเติงลิน (สำนักรัฐมนตรีเก่า) เป็นสมาชิกองค์กร (ค.) อูไคหม่องยี (ง.) อูโจเมียด (จ.) ตูระอูอ่องโก ประธานด้านกฎหมายของสภาผู้แทนราษฎร
เกี่ยวกับการยึดที่ทำกินนั้น ทางการได้ยึดไว้แล้ว ไม่ยอมทำอะไรทิ้งไว้อย่างนั้น ต้องมอบคืนให้กับเจ้าของเดิม ที่ได้ระบุไว้ในกฎหมายที่ดินทำกินนั้น กระบวนกฎหมายที่ว่านั้น หวังในที่ดินทำกิน ที่ถูกยึด ภายหลังจากกองทัพพม่าได้ยึดอำนาจในปี 1988 นั้นแล้ว
อยากจะคลี่คลายปัญหาที่ดินทำกินนี้ แล้วพวกชาวนาจึงต้องรวบรวมก่อตั้งสมาคมตามขั้นตอนของกฎหมาย จากนั้นค่อยจ้างทนายความอีกที แล้วนำเสนอให้กับผู้ว่าราชการจังหวัด ช่วงนั้นเอง ผู้ว่าราชการจังหวัด ก็จะอำนวยไปตามระบบของกฎหมาย
ชาวนาที่ถูกยึดที่ทำกินของตนไว้นั้น อันดับแรกต้องระวังปีที่ถูกยึดที่ทำกิน นั้น ขั้นตอนที่สองจะอำนวยไว้ตามกระบวนของกฎหมาย ขั้นตอนที่สามนั้น ต้องนำเสนอให้แต่ละบุคคล แทนที่จะนำด้วยตนเอง ร่วมกันร้องเรียน ในกลุ่มของสมาคม ก็ยิ่งทำให้ได้รับความสำเร็จง่ายขึ้นเป็นแน่ .....
Peace army groups oppose the government’s ultimatum
• Tuesday, 07 May 2013 06:36
• Written by Phyu Phyu Ko
In a press conference with reporter's yesterday, the Karen Peace Army group said “if government troops plan a military operation on Karen army groups who have already signed a ceasefire agreement, the Karen Army Groups will not hesitate in defending themselves.”
The meeting was held at the Office of Strategic Headquarters for the Karen Peace Council in Myawaddy; in attendance were the DKBA and the Karen Peace Council. The May 6 was heavily focused on the government issued ultimatum for the removal of DKBA forces.
Coinciding with this event, was a meeting led by the peace delegation (under Maj. Mg Lay), to resolve issues between the DKBA and government (with U Aung Min the minister of the government security acting as the representative).
“The government troops ordered the DKBA to move out of the area by 12 pm on May 4the DKBA refuses to withdraw. Therefore, if the government troops launch a military offensive attack, we have to retaliate,” the DKBA’s Kaloathoopaw strategic Colonel Saw San Aung said during the press conference.
The DKBA fought with the government’s Border Guard Forces (BGF) on April 27 days. As a result, the government troops demanded the group's withdrawal from Mae pa in Myaing Kyi Ngu; they claimed the request was related to the cleaning and maintenance of the HutKyiDam area. “The problem began when one of the BGF soldiers showed aggression towards a DKBA soldier that had been cleared; gun fire broke out. Both sides were shooting each other and the battle broke out for three days. That's why the ultimatum to withdraw by May 4 given,” Colonel San Aung said.
A DKBA official has commented on the matter and said “If we [DKBA] move from those areas, we will be near that Thai border. We have no previously made arrangements with the Thai government.” Also, the official mentioned that the locals have business and agriculture that they have built in the areas, which is why they are unwilling to move.
Colonel Saw eh Kaw Htoo (Tiger) of the Karen Peace Council said “...if the government army launches a military offense to remove the DKBA, we will not be quiet.”
Government troops have approached the DKBA army camps to plan a military operation because the DKBA has not yet withdrawn; however efforts have been made by both sides to quell the violence. Recently, DKBA members spoke with military officials and have come to an apparent understanding.
The purpose of the DKBA and the Karen Peace Council conducting a meeting with reporters was to inform government officials and Myanmar Peace Center representatives (including President U Thein Sein) of the progress of the peace process with the ethnic groups.
Minister U Aung Min acts as mediator between the DKBA and BGF
• Tuesday, 07 May 2013 03:03
• Written by Phyu Phyu Ko
In an effort to resolve matters of contention between the Democratic Karen Buddhist Army (DKBA) and the BGF (Border Guard Forces), the government’s security Minister U Aung Min met with Major Mg Lay of the DKBA yesterday in Naypyitaw.
“Currently, the government has advised both sides to avoid one another, but this is only a short-term solution. We hope to find an answer to the problem with Minister U Aung Min.” Maj. Mg Lay commented.
During the meeting, the DKBA addressed the recent efforts for forced removal of the DKBA from the Myaing Kyi Ngu. In addition, they expressed hesitation in signing a ceasefire agreement as they are not pleased with the stipulations dictated by the Myanmar government.
Reservations in finalizing the deal stem from a history of failed attempts at the peace process.
The DKBA was eager to meet with government officials to discuss possible actions for resolution.
Members of the DKBA presented the following points to Minister U Aung Min:
1) The necessary installation of a mediator: The DKBA stressed that it is imperative that a mediator is appointed in order to propel the peace process. The group maintains, the problem is in its current state because there is no intermediate.
2) A meeting for all participating parties must be held: This action is to promote unity with peace army groups in Karen State.
3) Territories must be designated: Areas belonging to government troops and the peace army groups must be specified.
“The government peace working group should act as a mediator between the military, the peace army, and ethnic groups. They [government] need to specify the areas for each groups [DKBA, KNU, BGF]. There will be less conflict if the areas are not mixing together,” said Maj. Mg Lay.
The May 6Minister for the security of Karen state border areas, in order to discuss the current strife.
Following that initial meeting the DKBA met with the South-eastern Division Command, and ended with a conference with Minister U Aung Min in Naypyitaw.
“We will meet and discuss as much as we can in these days,” said Minister U Aung Min.
“We don’t want to delay any action because the condition between the government battalions and the DKBA will most likely worsen.”
During the meeting, the DKBA also requested that BGF battalions 1012 and 1014 be replaced by BGF battalions 1017 and 1019 in Mae Tawaw, of Karen state's Hlaing Bwe Township. The request came just days after violence broke out in the surrounding area. On April 27 conference commenced with the DKBA meeting with Colonel Aung Lwin, a a battle between the DKBA (led by Colonel Kyaw Be) and the government’s BGF (led by Major Chit Thu) erupted; it lasted for nearly 3 days. People from the Lawpu, Mae Seik, Mee Shaing and Thekane villages in Hlaingbwe Township have been forced to relocate as a result of the violence.
An initial meeting with the DKBA group led by Maj. Mg Lay and the Minister for security of the border area in Karen state, U Aung Lwin, was set for May 4in Hpa-an, left many issues unresolved. All issues were finally addressed during yesterday's meeting in Naypyitaw.
UNFC เตรียมความพร้อมสำหรับข้อมูลเบื้องต้น เพื่อจะได้เจรจาทางการเมือง
อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:พุธ ที่ 5 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
กลุ่ม UNFC นี้ หากมีการเจรจาอย่างโปร่งใส ครั้งที่สองกับคณะด้านสันติภาพของรัฐบาลอีก เป้าหมายเพื่อที่จะร่างข้อมูลเบื้องต้นเก็บไว้ จะได้ทำการเจรจาทางการเมืองจีงได้หารือกันต่อไป เดบิด ตากะโป โฆษก ตัวแทนของ UNFC กล่าว
“ ที่รัฐบาลกับเราได้เจรจากันไว้นั้น ได้เจรจากันอย่างโปร่งใสทั้งสิ้น ทุกครั้งที่พบปะกัน จะได้วางแนวทางในการเจรจาอย่างไรนั้น ยังไม่มีการได้พูดคุยกันไว้เลย พบกันครั้งนี้ เกี่ยวกับแนวทางข้อมูลเบื้องต้นนี้ จะทำการเจรจากันอย่างชัดเจน” ต่างกล่าวกัน
ภายในเดือน มิ.ย 56 นี้ UNFC มีแนวโน้มเพื่อจะพบปะเจรากับตัวแทนของรัฐบาล ด้วยเหตุนั้น ตั้งแต่วันที่ 1 – 3 มิ.ย 56 นั้น ทาง UNFC ได้จัดการประชุมเฉพาะกิจขึ้นที่เชียงใหม่ ประเทศไทย
ในวาระการประชุมเฉพาะกิจนี้ เกี่ยวกับคำตอบงานเจรจาเมียดจีนา ระหว่างรัฐบาลกับ KIO ที่ได้เจรจากันมา โดยที่ UNFC ได้กลับมาวิเคราะห์อยู่เช่นกัน นอกจากเรื่องการวางแผนเพื่อทำการเจรจาทางการเมืองนั้นแล้ว ก็สัมณาหารือกันอย่างกว้างขวางอีกด้วย
ในการวิเคราะห์หาคำตอบการเจรจาเมียดจีนานั้น เกี่ยวกับผู้ลี้ภัยสงครามรัฐคะฉิ่นนั้น ควรต้องตั้งประเด็นและอำนวยความสะดวกดำเนินการก่อน โดยที่ทาง UNFC ได้ให้ความเห็นแด่ผู้เกี่ยวข้องเหล่านั้นแล้ว
http://phophtawnews.org/burmese/index.php/news/internal-news/item/346-unfc.html
กลุ่ม UNFC นี้ เพื่อที่จะได้เจรจาเกี่ยวกับเรื่องการเมืองกับรัฐบาลนั้น ได้วางแผนข้อมูลด้านการงานไว้ 6 ข้อ เป็นข้อมูลเบื้องต้น เพื่อการเจรจาทางการเมือง ลักษณะเดียวกัน ทางรัฐบาลเอง หากทำการเจรจากับกลุ่มติดอาวุธของชาติพันธุ์ ในระดับภาค จะวางข้อมูลการงาน 5 ข้อ ในระดับชาตินั้น จะวางข้อมูลการงานไว้ 8 ข้อ ได้ทำเป็นข้อมูลเบื่องต้นไว้แล้วนั้น เมื่อเดือน พ.ค ปี 2012 นั้น ทางสำนักนายก ได้ประกาศออกมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
“ เท่าที่ผมเข้าใจนั้น ข้อมูลเบื้องต้นของการเจรจานั้น ได้ตั้งมั่นไว้เหมือนไม่ใช่กฎหมาย เพียงแค่ข้อด้านการงานเท่านั้น ไม่ดำเนินการ กลับมาแก้ไขได้อยู่ เพื่อเรื่องสันติภาพแล้ว จะไม่มีการปิดบัง อูอ่องมินได้กล่าวไว้ สิ่งไหนควรต้องแก้ไขก็แก้ไขอยู่แล้ว ท่านได้อธิบายให้เราในงานเจรจาเมียดจีนาไว้แล้ว” อูละหม่องชวย โฆษกจากสำนักงานด้านสันติภาพที่กรุงย่างกุ้งนั้นกล่าว
แต่ว่าการกระทำของตัวแทนรัฐบาลนั้น อย่าว่าแต่แก้ไขข้อมูลเบื้องต้นเลย ตามที่วางข้อมูลเบื้องต้นไว้เท่านั้น หากยังไม่เกิดขึ้นจะดำเนินการให้ เป็นได้แค่นั้น ต่างวิภาควิจารกันอยู่
ด้วยเหตุนั้น เกี่ยวกับการเจรจา UNFC กับรัฐบาลนี้ ได้ไกล่เกลี่ยกับข้อมูลเบื้องต้นของทั้งสองฝ่ายแล้ว เพื่อให้ทั้งสองฝ่ายยอมรับข้อมูลที่ยอมรับกันได้นั้น ตั้งประเด็นแล้วเจรจาต่อไป เดบิด ตากะโป กล่าว
ไม่นานจะพบปะเจรจากับ UNFC อีก อูอ่องมินได้กล่าวไว้ในงานเจรจาที่เมียดจีนานั้นเอง
UNFC นั้น หากเจรจากับตัวแทนรัฐบาล ความคิดเห็นของกลุ่มติดอาวุธ หรือไม่ก็สมาชิกของตน เพื่อจะได้มีส่วนร่วมด้วยนั้น วันนี้ (วันที่ 5 มิ.ย ) ได้จัดการประชุมร่วมด้านการงานชาวชาติพันธุ์ WGEC ขึ้นที่เชียงใหม่ ประเทศไทยนั้นเอง.....
คดีที่ ตร.ได้ส่งฟ้องไว้นั้น ตั้งกรรมาธิการแล้ว จะเผชิญหน้าอย่างแน่นอน
จันทร์ ที่ 3 มิ.ย 56 : สำนักข่าวสารหงส์ทอง
ขณะที่ ตั้งกรรมาธิการอยู่ (ภาพ - M Y F)
เมื่อช่วงสงกรานต์นั้น วัยรุ่นมอญกลุ่มหนึ่งเกิดปัญหากับ จนท. ตร. แล้วถูกควบคุมตัว เพื่อจะได้หลุดพ้นออกมา และข้อเท็จจริงจะได้เปิดเผยออกมา หวังไว้แล้ว เหล่าพระสงฆ์มอญทั้งหลาย เหล่าพรรคการเมืองมอญ กรรมด้านการศึกษาและวัฒนธรรมมอญทั้งหลาย ร่วมกันปรึกษาหารือกัน แล้วตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นมาหนึ่งคณะ ด้วยจำนวนคน 15 คน พระสงฆ์รูปหนึ่งกล่าว
“ ตั้งคณะกรรมาธิการนี้แล้ว เหล่าวัยรุ่นที่ถูกควบคุมตัว เพื่อจะได้พ้นจากข้อกล่าวหา และสำหรับผบ.ตร. เมียดไน ที่ฉีกเสื้อผ้าแล้วเหยียบด้วยเท้า ที่พูดจาหยาบคายนั้น จะต้องเอาโทษตามกฎหมาย คณะดังกล่าวนี้จะดำเนินการให้ถึงที่สุด” นายเรเจ จากคณะกรรมาธิการนั้นกล่าว
ในคณะกรรมาธิการนี้ มีพรรคมอญใหญ่ , พรรคประชาธิปไตยพื้นที่รัฐมอญ และ พรรคประชาธิปไตยมอญก็ร่วมด้วย แต่ละพรรคจะมีผู้เข้าร่วม 3 คน นอกจากนั้น จะได้ครบจำนวนจึงเสริมตัวแทนพระสงฆ์มอญและกลุ่มเยาวชนมอญ สมาชิกคนหนึ่งจาก Mon Youth Forum นั้นกล่าว
กรรมาธิการดังกล่าวนี้ ได้ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พ.ค 56 ที่ผ่านมานี้เอง เปิดไว้สำหรับจะได้ช่วยเหลือในเรื่องปัญหาของวัยรุ่นมอญกลุ่มหนึ่ง ที่มีปัญหากับ จนท. ตร. จนเกิดการลงไม้ลงมือกัน ที่ บ้านพะอ๊อก อ.มุเดิง รัฐมอญ
ปัญหาดังกล่าวนี้ มีวัยรุ่นมอญ 11 คน ได้เล่นสงกรายต์ ในงานเจดีย์ บ้านโรโก ในสงกรานต์วันสุดท้ายนั้น ช่วงที่กลับมา พอถึงปะรำเวทีบ้านพะอ๊อก ได้ร้องรำทำเพลงกันอย่างสนุกสนานได้โบกธงชาติมอญไปมา ขณะที่ร้องรำกันอยู่นั้น ผบ.ตร.เมียดไน จาก สภอ. มุป้อน ที่อยู่ในปะรำเวที่นั้น แย่งเอาธงชาติไป เนื่องจากตีใส่วัยรุ่นที่ถือธงชาติด้วยด้ามของธงชาตินั้นเอง ทำให้ ตร.กับกลุ่มวัยรุ่นจึงเกิดเหตุวิวาทขึ้น
เนื่องจากการวิวาทนั้น จึงถูกจับด้วยมาตราที่ 332 หาว่าหมิ่นประมาทจนท. ผู้ถูกกล่าวหานั้นเป็นวัยรุ่นมอญ 4 คน ด้วยมาตราที่ 333 ข้อหาประพฤตกรรมหยาบคาย ผู้ถูกกล่าวหา ที่ยุให้เกิดเรื่องเป็นวัยรุ่นมอญ 5 คน ด้วยมาตรา ที่ 19 / ก.การกระทำที่แย่งชิงอาวุธจนท. ผู้ถูกกล่าวหานั้น วัยรุ่นมอญ 2 คน
วัยรุ่นที่ถูกจับไว้นั้น บางคนยังถูกทรมานทุบตีอยู่ เมื่อวันที่ 10 – 13 พ.ค 56 นั้น วัยรุ่น 6 คน ที่อายุยังน้อย ได้พ้นออกมา โดยประกันตัวออกมาด้วยวงเงิน คนละห้าล้านจ๊าด ด้วยเหตุนั้น ในเรื่องคดีความนี้ จะได้เกิดกระบวนการยุติธรรมเกิดขึ้นนั้น คณะกรรมาธิการนี้ จะอำนวยความสะดวกต่อไป
กรรมาธิการนี้ ไม่ใช่แค่พยายามให้พ้นจากคดีเท่านั้น เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายก็จะเตรียมช่วยอำนวยให้ด้วยเช่นกัน.....
ในประเทศมาเลเซีย พวก จนท.มาเลเซีย ตามจับชาวพม่าอยู่
พุธ ที่ 5 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
พรุ่งนี้ชาวพม่าที่อยู่ในประเทศมาเลเซีย จะมีการชุมนุมกันที่หน้าสถานฑูตพม่า วันนี้ ตั้งแต่เช้า ที่เมืองหลวงกวนลาลำเปอ ประเทศมาเลเซียนั้น หากเกิดความสงสัยเป็นพวกชุมนุม จนท.ตร.มาเลเซียจะทำการจับกุ่มทันที คนๆหนึ่งจากคณะกรรมการของผู้ชุมนุมในมาเลเซียนั้นกล่าว
“ วันนี้พวกเขาเริ่มทำการจับกุ่ม อย่างน้อยประมาณ 70 นาย ด้วยรถ โรรี่ 3 คัน เป้าหมายของพวกเขา คือชาวพม่าที่อยู่ในบริเวณสถานฑูตพม่านั้นเอง ไม่ว่าจะมีหนังสือพาสปอร์ตหรือไม่ จะมีการ์ด UN หรือไม่ ไม่ว่าใครแล้วแต่จับทั้งหมด”
พม่าที่อยู่ในประเทศมาเลเซีย เพราะอะไรถึงอยากจะทำการชุมนุมที่หน้าสถานฑูตของตนนั้น เนื่องมาจากชาวพม่าถูกฆาตรกรรมในมาเลเซีย และเนื่องจากนักการฑูตของพม่าได้ตอบโจทในห้องสัมพาสให้กับ MRTV 4 นั้นเอง จึงต้องลุกขึ้นมาชุมนุมอย่างนี้
เตรียมไว้เพื่อที่จะทำการชุมนุมด้วยคนประมาณ 300 กว่าคน แต่รัฐบาลมาเลเซียเองก็เตรียมปฏิบัติพิเศษ ได้สั่งการไปยังจนท.ตร.ทั้งพวกคุมด่านตรวจคนเข้าเมือง(ตม.) และ อส.ไม่ว่าใครจับได้ทั้งหมด นอกจากนั้น ทางพื้นที่ ซาลายาน , ชะรัด , กุลาน และฮานปาน ก็จะทำการจับกุ่มต่อไปอีก
ความต้องการของผู้ชุมนุมนั้น อยากจะเรียกร้อง “ นักการฑูตของพม่า อูติ่นละ ให้พ้นออกจากตำแหน่ง อูยินทวด รองรัฐมนตรีกระทรวงประชาสัมพันธ์ เองซึ่งแถลงข่าวไว้ผิดๆนั้น จะต้องกล่าวคำขอโทษ และต้องดูแลเอาใจใส่ผู้ตกทุกข์ได้ยาก อันเนื่องมาจากกรณีพิพาท” เพราะสามข้อดังกล่าวนี้ จึงต้องชุมนุมประท้วง
ทำไมต้องเรียกร้องเช่นนี้ ในประเทศมาเลเซียนั้น ตั้งแต่วันที่ 2 – 4 มิ.ย 56 นั้น เนื่องจากกรณีพิพาทการข่มเหงชาวพม่าได้เกิดขึ้นระยะ 3 วัน ในระยะสามวันนี้ชาวพม่าเสียชีวิตไป 7 กว่าคน ได้รับบาดเจ็บ 15 คนกว่า จึงต้องเรียกร้องขึ้นมา ย่านซาลายาน เป็นจุดที่เกิดความรุนแรงที่สุด.
จุดที่เกิดความรุนแรงและลงโทษฑัณนั้น เป็นจุดที่กระทำการซื้อขายยาเสพติดนั้นเอง นักการฑูตพม่าได้แถลงไว้กับ MRTV 4 ไว้อย่างนั้น ด้วยเหตุนั้น ชาวพม่าที่อยู่ในมาเลเซียเกิดความไม่พอใจ กับคำพูดดังกล่าวนั้น จึงได้รวมตัวกันเพื่อจะทำการชุมนุมประท้วง เนื่องจากกระแสกรณีพิพาทในประเทศพม่าที่เกิดขึ้นนั้นเอง จึงได้เป็นอย่างนี้ เขาอยากจะชุมนุมประท้วงในข้อสงสัยนั้นกระจ่างขึ้นเท่านั้นเอง
เกี่ยวกับเรื่องนี้แล้ว เมื่อวานนี้ (วันที่ 4 มิ.ย 56) อูซินโย ร้องรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ ได้เชิญฑูตมาเลเซีย มิสเตอร์ไพศาล ปิ่นมอฮามัต พบปะกันที่สำนักรัฐมนตรีการต่างประเทศ ลัวได้เยื้อนหนังสือแจ้งเตือนให้ฉบับหนึ่ง.....
เรื่องผู้ลี้ภัยชาวคะฉิ่นนั้น ควรต้องอำนวยความสะดวกก่อน UNFC กล่าว
อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:จันทร์ ที่ 3 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
ค่ายอพยพลี้ภัยแห่งหนึ่งที่รัฐคะฉิ่น (ภาพ – จินโพกาซา)
หลังจากรัฐบาลกับกลุ่มอิสรภาพคะฉิ่น KIO ได้ทำการเจรจาสิ้นสุดลง เกี่ยวกับผู้ลี้ภัยสงครามที่รัฐคะฉิ่นเท่านั้น ควรต้องอำนวยความสะดวกก่อน จากการประชุมเฉพาะกิจของ UNFC ได้นำเสนอไว้ ปะโดเดบิด ตากะโป ซึ่งเป็นโฆษกนั้นกล่าว
“ อยากจะพูดกับ KIO กับรัฐบาล ในการเจรจาเกี่ยวกับการหยุดยิงกับการเจรจาทางการเมิองนั้น ยังยืดเยื้อยอยู่ ผู้ลี้ภัยสงครามเหล่านั้น พวกเขาต้องอยู่อย่างยากลำบากในค่ายอพยพประมาณสองปีแล้ว ด้วยเหตุนั้น ทาง UNFC เราเห็นว่าเรื่องของผู้ลี้ภัยเหล่านี้ควรต้องอำนวยความสะดวกก่อน ”
ประชุมเฉพาะกิจของ UNFC นั้น เริ่มขึ้นในวันที่ 1 มิ.ย 56 จนถึงวันที่ 3 มิ.ย 56 ได้จัดขึ้นที่เชียงใหม่ ประเทศไทย กลุ่มที่เข้าร่วมการประชุมดังกล่าว มีประมาณ 20 กลุ่ม ในวาระประชุมนั้น จากการที่สำรวจการเจรจาของ KIO กับรัฐบาล ที่ทำการเจรจากันเมื่อวันที่ 29 พ.ค 56 นั้น นึกถึงผู้ลี้ภัยที่รัฐคะฉิ่น แล้วเรื่องของผู้ลี้ภัยเหล่านี้ ควรต้องคิดดำเนินการก่อน จึงต้องนำเสนอนี้ขึ้นมา เดบิด ตากะโป กล่าว
เพื่อผู้ลี้ภัยที่รัฐคะฉิ่นก็ดี เพื่อประชาชนบางคนที่มีความประสงค์ในเรื่องความช่วยเหลือก็ดี ทางสถานฑูตของหสรัฐ ที่อยู่ในกรุงย่างกุ้ง อยากจะให้ความช่วยเหลือนั้นเอง เมื่อวันที่ 31 พ.ค 56 จึงได้ขออนุญาตเรื่องช่วยเหลือไปยัง KIO กับรัฐบาล
รัฐมนตรี อูอ่องมิน เองก็เตรียมการไว้ว่า ภายในระยะหนึ่งเดือนผู้ลี้ภัยสงครามเหล่านี้ ต้องได้กลับภูมิลำเนาของตน จะดำเนินการให้ ขณะที่ท่านไปถึงค่ายผู้ลี้ภัยสงครามนั้น ได้ให้คำมั่นสัญญาไว้กับผู้ลีภัยเหล่านั้น
เช่นเดียวกัน รองแม่ทัพ พล ต. ก่อมมอ เอง เกี่ยวกับผู้ลี้ภัยสงครามเหล่านี้จะได้กลับภูมิลำเนาของตนนั้น จากสถานที่ที่มีความปลอดภัยเท่านั้น จะเริ่มทำการเตรียมการไปก่อน ขณะที่ไปถึงค่ายอพยพที่ไวมอ รัฐคะฉิ่นนั้น พล ต.ก่อมมอ ได้กล่าวไว้กับผู้ลี้ภัยสงครามที่อยู่ในค่ายนั้น
เก็บผู้ลี้ภัยสงครามเหล่านี้ไว้ ซึ่งให้เป็นเหยื่อทางการเมืองนั้น ไม่สมควรเป็นเช่นนั้น ผู้ลี้ภัยสงครามที่อยู่ในตัวเมืองเหล่านี้ ดูเผินๆแล้วเหมือกับสบายกว่าพวกที่อยู่ในป่า แต่ไม่ได้รับความช่วยเหลืออย่างเพียงพอจากทั้งสองฝ่าย เป็นผู้ไร้บ้านทั้งสิ้น กรรมการของค่ายอพยพนั้นกล่าว
ด้วยเหตุนั้น จึงต้องอาศัยการช่วยเหลือจาก UN และองค์กรจากต่างประเทศนั้นเอง เกี่ยวกับการจัดที่อยู่อาศัยนั้น ควรต้องดำเนินการโดยเร็ว. KIO นั้น เป็นสมาชิกของกลุ่ม UNFC ด้วยเช่นกัน แล้ว KIO กับรัฐบาลพบปะเจรจากันเสร็จแล้ว แต่เพื่อที่จะคุยด้วยทางการเมืองกับ UNFC นั้น ทางรัฐบาลยังเตรียมการอยู่ ด้วยเหตุนั้น นอกจากรวบรวมข้อมูลเท่าที่ควร เพื่อที่จะทำการเจรจากับรัฐบาลนั้นแล้ว โดยที่ UNFC จึงต้องจัดการประชุมเฉพาะกิจนี้ขึ้นมา
ในการประชุมนี้ นอกจากเรื่องผู้ลี้ภัยชาวคะฉิ่นแล้ว สถานการณ์ทางการเมืองของประเทศพม่าที่เกิดขึ้นอยู่ต่อหน้าต่อตาในขณะนี้นั้น ย้อนวิเคราะห์อยู่แล้ว หากเกิดการเจรจาทางการเมืองกับรัฐบาลขึ้นตามขั้นตอนกฎหมายแล้ว จะต้องมีขั้นตอนอย่างไรนั้นได้เตรียมไว้แล้ว
UNFC เอง เพื่อที่จะพบเจรจากับรัฐบาลในเดือน มิ.ย 56 นี้ ได้เตรียมการไว้แล้ว อันดับแรกจะวางขั้นตอนการเจรจาอย่างไร นั้น ต้องเริ่มหารือกันก่อน UNFC นั้น นอกจากเรื่องหยุดยิงแล้ว เรื่องการเมืองเท่านั้นที่อยากจะชี้แจงกันเป็นอันดับแรก แต่ทางรัฐบาลนั้น อยากจะยืดเวลาด้วยการหยุดยิงนี้เท่านั้น
เนื่องจากเป็นเช่นนั้น นั้นเอง ทุกกลุ่มที่หยุดยิงกับรัฐบาลนั้น ได้แค่เพียงข้อตกลงการหยุดยิงเท่านั้น ยังติดอยู่อีกครึ่งทาง รัฐบาลพม่านั้น ได้รับการหยุดยิงจากกลุ่มติดอาวุธของชาติพันธุ์ทั่วทั้งหมด ถึงได้ประกาศเรื่องการหยุดยิงทั่วทั้งประเทศได้ จึงกล่าวไว้เช่นนั้น.....
คำพูด เรื่องหยุดยิงของรัฐบาลไม่มีความมั่นคง
อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:พฤหัสบดี ที่ 6 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
แด่กลุ่มที่หยุดยิงไว้แล้ว ไม่การที่จะดำเนินการต่อข้อที่ตกลงกันไว้ แล้วในเดือน มิ.ย 56 นี้ จะพบปะกันอีก คนของรัฐบาลได้แถลงไว้กับผู้สื่อข่าว และเป็นสื่งที่สมควรต้องตั้งคำถาม เหล่าผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์นั้นกล่าว
“ ทางรัฐบาลนั้นพูดอยู่ แต่ว่ายังไม่ได้พูดกับเราอย่างเป็นทางการเลย เรายังไม่รู้อะไรเลย” ปะโดกะเวทูวิน เลขาธิการของพรรคกะเหรี่ยง KNU นั้นกล่าว
คำพูดของตัวแทนรัฐบาลนั้น เรียกการเจรจานี้ว่า เป็นการแก้ไข้การหยุดยิงทั่วทั้งประเทศ ในเดือน มิ.ย 56 นี้ ตัวแทนของรัฐบาลกับตัวแทนจากกลุ่มอิสรภาพรัฐคะฉิ่น KIO , พรรคชนชาติกะเหรี่ยง KNU ,
พรรคชาตืพัฒนากะเรนนี KNPP , ผู้นำก่อตั้งรัฐฉาน RCSS/SSA พบปะเจรจากันแน่นอน อูละหม่องชวยกับอ่องเนอู (จากสำนักงานด้านสันติภาพพม่า) ได้แถลงไว้กับผู้สื่อข่าวในเมือง และผู้สื่อข่าวต่างประเทศอีกด้วย อย่างไรก็ตาม วันไหนจะจัดนั้น ยังไม่มีคำตอบให้กับกลุ่มไหนเลย เหล่าผู้นำของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างวิภาควิจารอยู่
คำพูดของของฝ่ายรัฐบาลนั้น เพื่อที่จะพบปะกับ Technical Team KIO ในสัปดาห์นี้ ที่เมืองเมียดจีนา มีการเตรียมการไว้แล้ว
คำพูดของ ดร. ละจา เลขาธิการของ KIO นั้น “ จะพบปะก็พบปะกับ Technical Team เท่านั้น ก็เป็นได้ จะพบกันวันไหน ที่ไหนนั้น ทางรัฐบาลยังไม่ส่งข่าวให้เลย” ต่างพากันกล่าว
คำพูดของ KNU นั้น “ทางรัฐบาลยังไม่มีการเชื้อเชิญ หากจะพบปะกัน ต้องกลัมาเจรจาเกี่ยวกับเรื่องของ กกล.ของทั้งสองฝ่ายต้องคอย Code of Ethnic นั้นอีก การเจรจาที่ผ่านๆมานั้น เรื่องนี้ยังไม่เด็ดขาดและยังไม่จบ”
อูขู่รา เลขาธิการ 1 ของ KNPP นั้น พูดอย่างไรนั้น เดือน มิ.ย 56 ในสัปดาห์ที่สามนี้ คงพบปะกันแน่ ยังรอคอยอยู่
RCSS/SSA นั้น “ วันที่ 1 มิ.ย 56 นั้น อูอ่องมินส่งจดหมายเชิญมาหนึ่งฉบับ ว่าอยากจะพบกับประธานาธิบดีนั้น หลังจากวันที่ 10 มาพบได้ ที่เนปีดอ แม้พูดไว้อย่างนั้นก็ตาม ทั้งสองฝ่ายนัดไว้นั้น ยังไม่รู้วันที่แน่นอน” พ.ต.ไซลอไส่ โฆษกของ RCSS/SSA กล่าว
กองทัพกะเหรี่ยงที่อำนวยกับประชาธิปไตยกะเหรี่ยง DKBA เอง “ ต้องแต่ลงนามเซนสัญญาการหยุดยิง จนถึงทุกวันนี้ยังไม่ได้พบปะกันเลย หัวข้อที่เหลือ ที่ควรต้องทำการเจรจาต่อนั้น ยังไม่ทำการเจรจาและยังคงไว้อย่างนั้นอยู่ กลุ่มของเราเองก็ต้องทนอยู่เหมือนกลุ่มอื่นๆเช่นกัน”
หวังที่อย่างให้มีการหยุดยิงทั่วทั้งประเทศนั้นเอง เดือน ก.ค 56 นั้น จะจัดงานเจรจาขึ้น โดยมีกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งหมดต้องเข้าร่วมด้วย จะจัดให้นั้น เมื่อวันที่ 29 พ.ค 56 ในงานเจรจาที่เมียดจีนานั้น รัฐมนตรีอูอ่องมิน ได้กล่าวไว้
แต่ว่ารัฐบาลนั้น ใช่ว่าจะหยุดยิงกับกลุ่มติดอาวุธของชาติพันธุ์ทั้งหมด กับกลุ่มติดอาวุธตะไอ/ปะหล่อง , พรรคกะยาใหม่ และกองทัพชนชาติระไค ที่ทางรัฐบาลยังไม่ได้เชื้อเชืญให้หยุดยิงเลย
วางข้อตกลงกับกลุ่มติดอาวุธที่หยุดยิงไว้แล้ว ยังไม่มีการดำเนืนการอะไรเลย บางแห่งยังต้องกลับมาปะทะกันอีก
ด้วยเหตุนั้น ทำเป็นสายกลางต่อข้อตกลงนั้นแล้ว พยายามเรื่องที่จะหยุดยิงทั่วทั้งประเทศนั้น ไม่ใช่เป็นเจตนาที่แท้จริง แต่เป็นการกระทำที่รัฐบาลหาผลประโยชน์เท่านั้นเอง กลุ่มต่างๆพากันวิภาควิจารอยู่ เหตุผลนั้น เนื่องจากรัฐบาลไม่มีความต้องการที่จะเจรจาทางการเมืองเลย เนื่องจากอยากจะทำลายขั้นตอนการเจรจาทางการเมืองนั้นเอง จึงได้ข้ามไปจัดการเจรจาเรื่องโน้นเรื่องนี้อยู่อย่างนี้.....
ไกล่เกลี่ยหารือกัน เพื่อที่จะได้เปิดกลุ่ม เจรัก มีเดีย และข่าวสารในรัฐมอญ
อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:พุธ ที่ 5 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
เรื่องราวที่เกิดขึ้นอยู่ในรัฐมอญนั้น เพื่อจะได้นำเสนอให้ทันเวลาต่อมหาชน หวังไว้อย่างนั้น ในวันที่ 1 มิ.ย 56 นั้น นักข่าวและกลุ่มผู้สือข่าวที่อยู่อาศัยในรัฐมอญ ได้ไกล่เกลี่ยหารือกัน และได้รับความเห็นชอบ เพื่อจะได้เปิดกลุ่ม เจรัก มีเดีย และข่าวสาร ในรัฐมอญ นายจีลิน ผู้สือข่าววรสาร เสียงตันลิน กล่าว
“ ประเด็น คือนักข่าวด้วยกัน ที่อยู่ในรัฐมอญ ทุกคนจะต้องมีการประสานเป็นหนึ่งเดียวเท่านั้น อีกอย่างที่พักอาศัยของนักข่าวในรัฐมอญจะเป็นที่เดียวกันก็ว่าได้ หากวิเคราะห์อย่างละเอียดกับทั่วทั้งรัฐมอญแล้ว ขั้นตอนของข่าวนั้น ยังอ่อนอยู่ อันนี้พวกเราได้ไกล่เกลี่ยลองหารือกันเป็นครั้งแรก ”
พากันกล่าว เราไกล่เกลี่ยได้ไว้ในตอนนี้นั้น เจรักนั้น (1) เพื่อจะได้ช่วยกันแก้ไขเรื่องยากลำบากในการเก็บข้อมูล (2) เพื่อจะได้ง่ายในการติดต่อกับสำนักข่าวสารทั้งหลาย (3) เพื่อจะได้เปิดโรงเรียนฝึกสอยเขียนข่าวหลายๆแห่ง ไกล่เกลี่ยได้ไว้ 3 ข้อนี้
นอกจากนั้น กระแสของมีเดียในรัฐ จะได้มีแรงสนับสนุน ข่าวเกี่ยวกับด้านการพัฒนาพื้นที่ เรื่องปฏิรูปประเทศของรัฐบาล สถานที่ของราชการในรัฐ ที่จัดเตรียมอยู่นั้น ข่าวสารจากที่อื่นๆ เรื่องราวต่างๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ประชาชนควรจะรู้ จะต้องเผยแพร่ ออกไปด้วยข่าวสาร ได้มีการลงความเห็นชอบไว้เช่นกัน
อีกอย่าง หวังเพื่อจะคัดเลือก จะได้ยึดมั่นเกี่ยวกับการตั้งชื่อ เจรัก มีเดียและข่าวสารในรัฐมอญ
เพื่อจะได้เผยแพร่ข่าวสารออลไลเหล่านั้นแล้ว เมื่อวันที่ 1 มิ.ย 56 นั้น ได้เชิญพวกสื่อมวลชนที่รัฐมอญอย่างคับคั่ง แล้วจัดงานสัมณาต้องการความประสงค์อีกที
งานไกล่เกลี่ยหารือเกี่ยวกับการเปิดองค์กรนี้ จัดขึ้นที่ Millennium Centre ที่อยู่ในวัดธาตุมาลา ย่านเซโจ จ.เมาะละแหม่ง มีผู้สนใจงานมีเดีย และ ผู้สื่อข่าวจาก DVB Hot News The Voice Eleven อาศัยอยู่ที่เมืองย่างกุ้ง ทั้งใน เสียงเมาะละ แหม่ง เสียงตาลิน เสียงละไม เยโตวิน ทั้งหมดที่อาศัยอยู่ในรัฐมอญนั้น มีตัวแทนที่เข้าร่วมประมาณ 14 คน
0 comments:
Post a Comment