Latest Update

ေကၜာန္ဍာံဒးဒွ္၊ ေကတ္ဍာံဒးဂြံ၊ အာဍာံဒးစိုပ္

Thursday, June 13, 2013

เสียงของชาติพันธุ์กับ การสัมณาที่เปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาในประเทศพม่า



อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:จันทร์ ที่ 10 มิ.ย 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง 


ในงานสัมณาการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาของประเทศพม่านั้น ทางฝ่ายตัวแทนของชาตพันธุ์ได้นำเสนอเพื่อที่จะได้รับอนุญาตให้เข้าไปสอนภาษาชาติพันธุ์ /ภาษาถิ่น (ภาษาแม่)ในชั้นประถม ของโรงเรียนรัฐบาลนั้น  ตัวแทนยอมรับและสนับสนุนเข้าร่วมการสัมณาด้วยจำนวนเกือบ 100 % บุคคลที่เข้าร่วมการสัมณาคนหนึ่งนั้นกล่าว

“ ในระดับชั้นประถมของโรงเรียนรัฐบาลนั้น  ภาษาของชาติพันธุ์/ภาษถิ่น(ภาษาแม่) แต่ละภาษาควรต้องมีการเรียนการสอนด้วย ได้นำเสนอไว้อย่างนี้  ได้พบว่ามีตัวแทนที่สนับสนุนประมาณ 95 %  หากจะส่งเสริมสิทธิ์ของชาติพันธุ์แล้ว ในรัฐของตน ควรต้องได้รับสิทธิ์ในการสอนอย่างเป็นระบบตามกฎหมาย ”  นายอ่องทู ตัวแทนจากกลุ่มเจรัก เรื่องการศึกษาของรัฐมอญนั้นกล่าว

ด้วยเหตุนั้น เพื่อที่จะได้ใส่ภาษาถิ่นในระดับชั้นประถมในโรงเรียนของรัฐบาลนั้น นายจะนูโมน ประธานพรรคประชาธิปไตย แห่งรัฐมอญ ที่เคยเป็นหน.ด้านการศึกษา ที่เคยเป็น ผอ.ด้านการศึกษาของรัฐบาล ในประเทศพม่า และระดับชั้นล่างก็ได้นำเสนอ เรื่องการสัมณานั้นเช่นกัน

 “ เด็กๆของชาวชาตพันธุ์ที่อยู่ในพื้นที่ของกลุ่มชาติพันธุ์เหล่านั้น  ที่ต้องเรียนภาษาพม่าอยู่นั้น  ยังเป็นอุปสรรคอยู่มาก  ด้วยเหตุนั้น ในระดับชั้นประถมนั้น นอกจากภาษารัฐบาลพม่า กับภาษาอังกฤษแล้ว ควรต้องมีภาษาแม่ของตนต้องร่วมกันจัดการเรียนการสอนเป็นระบบสามภาษา (Tris-language Teaching System)ด้วย”

ความต้องการของรัฐบาลพม่านั้น  ตามโครงสร้างของการศึกษา ด้วยระบบของรัฐบาล  ที่สอนอยู่นั้นเอง แปลภาษาไปตามเสียงนั้นเท่านั้น  แล้วให้กลุ่มชาติพันธุ์ศึกษาเล่าเรียนไปตามนั้น   ด้วยเหตุนั้น ในพื้นที่ของชาติพันธุ์ เพื่อที่จะได้เรียนรู้ไปตามกระบวนการนั้นๆ ทางรัฐบาลได้จัดเตรียมระบบของหนังสือพม่า สอนด้วยตัวอักษรของกลุ่มชาติพันธุไว้เรียบร้อยแล้ว  เนื่องจากมีการเตรียมการไว้แล้วนั้นเอง
ในการที่กลุ่มชาติพันธุ์นำเสนอเรื่องสิทธิในการเรียนการสอนภาษาถิ่น(ภาษาแม่)  นั้นผู้คนชอบกันมากก็ว่าได้

แต่ว่ารัฐบาลพม่าได้แปลวิธีการเรียนการสอนด้วยภาษาถิ่นของชาติพันธุ์  ในตอนนี้นั้น  เป็นการทำลายหนังสือภาษาของชาติพันธุ์ ใช่ว่าจะรู้   หากไม่ทบทวน ไม่ใส่ใจความเป็นไปของโวหาร  คำกลอน และความเป็นไปที่สร้างตำถามเหล่านั้นไว้แล้ว สอนไป ก็จะทำให้หนังสือภาษาถิ่น(ภาษาแม่)ของชาติพันธุ์ ผิดเพี้ยนไปหมดเป็นแน่  นักวิชาการด้านภาษาของชาติพันธุ์ต่างพากันกล่าว

เกี่ยวกับเรียนการสอนของชาติพันธุ์นั้นแล้ว  ในงานสัมณานี้  เนื่องจากมีคนให้การสนับสนุนมากนั้นเอง แทนที่รัฐบาลต้องจัดระบบการเรียนการสอนนั้น  ควรจะมอบให้กลุม่ชาติพันธุ์จัดการเรียนการสอนเอง   นักวิชาการกลุ่มชาติพันธุ์ให้ความคิดเห็นไว้  แต่ทางผู้คัดค้านพูดไว้นั้น -

 “ ชาวพม่าที่อยู่ตามรัฐเหล่านั้น  ต้องเรียนภาษาของชาติพันธุ์ของพวกเขาบ้างหรือเปล่า  หากต้องเรียนด้วยแล้ว เด็กพม่าเหล่านั้นไม่ยากเกินไปหรือ ได้วิภาควิจารกันอยู่นี้แล้ว  ฝ่ายชาติพันธุ์เอง พูดกันอย่างไรนั้น ไม่ดูบ้างหรือที่ต้องถูกบังคับให้เรียนภาษาพม่าอย่างนั้น” แต่ละฝ่ายได้มีการถกเถียงและพากันวิภาควิจารกัน  ควรต้องทบทวนด้วยว่า กลุ่มชาติพันธุ์นั้นต้องทนอยู่เป็นเวลานานนับปี ต่างพากันวิจาร

งานสัมณานี้ จากลุ่มจารักด้านวิชาการทั่วประเทศพม่า เป็นเจ้าภาพแล้วจัดงานสัมณาเป็นเวลาสองวัน(8 – 9 มิ.ย 56) ที่โรงเรียนผู้พิการทางสายตา(โรงเรียนคนตาบอด)  ที่อยู่ใน คะวีชัน อ.เมืองมะยันกง ภาคย่างกุ้ง

ในงานสัมณาดังกล่าวนี้ ตัวแทนจากพื้นที่ต่างกับรัฐ 14  คือ ตัวแทนของชาติพันธุ์ , ตัวแทนจากกลุ่มเกี่ยวข้องกับการศึกษา บรรดาครูทั้งหลาย , หัวหน้าด้านการศึกษา , ศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย , ตัวแทนจากกลุ่มด้านภาษาและวัฒนธรรมทั้งหลายก็เข้าร่วมด้วย รวมตัวแทนที่เข้าร่วมทั้งหมดประมณา 1,000 กว่าคน

ในวันที่ 10  ต.ค ปี 2012 นั้น เริ่มตั้งองค์กร จารัก ด้านการศึกษาทั่วประเทศ ด้วยที่เป็นสมาชิกนั้น องค์กร จารักด้านการศึกษา NED องค์กรสมาคมนักศึกษา  องค์กรสมาคม ครู  คณะสร้างสันติภาพ และ เคลื่อนไหวด้านมนุษย์อย่างชัดเจนของปี 88  พรรคลุป่องติ๊ด ประชาธิปไทยใหม่  กลุ่ม ครู อาจารย์ของมหาวิทยาลัยทั้งหลาย  กลุ่มพระสงฆ์พุทธศาสนาทั้งหลาย กลุ่มมหาวิทยาลัยธรรม และ โรงเรียนคริตส์  กลุ่มด้านการศึกษาทั้งหลาย จากชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านต่างๆ ก็เข้าร่วมด้วยเช่นกัน.....

0 comments:

Facebook Fan Page