Latest Update

ေကၜာန္ဍာံဒးဒွ္၊ ေကတ္ဍာံဒးဂြံ၊ အာဍာံဒးစိုပ္

Thursday, June 6, 2013

สหรัฐอเมริกาเรียกร้อง ให้ช่วยเหลือผู้ลี้ภัยด้วย

อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ:ศุกร์ ที่ 31 พ.ค 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง 
พล ต. ก่อมมอ ขณะที่ไปถึง ค่ายอพยพ ไวโม (ภาพ – จากอินเตอร์เน็ต)

สำหรับการเจรจากลุ่มอิสรภาพของคะฉิ่น  KIO กับรัฐบาล ที่พบปะเจรจากันที่เมืองเมียดจีนานั้น  โดยที่สถานฑูตของสหรัฐอเมริกา ที่อยู่ในกรุงย่างกุ้งนั้น  แม้จะยอมรับและดีใจเกี่ยวกับความปลอดภัย

และเรื่องสาธารณสุขผู้ลี้ภัยสงคราม  แต่ก็ยังเป็นห่วงอยู่ไม่น้อย จึงได้ประกาศออกไปในวันนี้ ด้วยเหตุนั้น สำหรับผู้ลี้ภัยสงครามในพื้นที่ของคะฉิ่น รวมทั้งคนในพื้นที่อื่นๆที่ยังเกิดการสู้รบอยู่
และประชาชนที่อยู่ในละแวกใกล้เคียง ที่อยากจะได้รับการช่วยเหลือนั้น  ก็ขอให้ความช่วยเหลือด้วย สถานฑูตของสหรัฐได้เรียกร้องมาอย่างนี้ ที่แนบไว้พร้อมกับหนังสือประกาศนั้นเอง  เมื่อเช่านี้ ตัวแทนของ KIO กับตัวแทนของรัฐบาลได้แวะไปดูค่ายอพยพของผู้ลี้ภัยสงคราม  ที่อยู่ในเมืองไวโม กับ เมืองเมียดจีนา

แล้วได้กล่าวให้กำลังใจไว้  อาจารย์ ตูจา บาตรหลวง ของพระคริตส์ นั้นกล่าว “ ตัวแทน KIO กับ ตัวแทนของรัฐบาลนั้น พวกเขาได้แบ่งออกเป็น 3 ทีม  เมื่อเช้านี้ พวกเขาได้แวะมาดูและให้กำลังใจ แก่ผู้ลี้ภัยสงครามเหล่านั้น  บีเจนัมเบีย จาก UN เองก็ได้ร่วมมากับคณะนั้นด้วย  ความคิดของพวกเขานั้น หากคิดจะวางแผนในเรื่องของผู้ลี้ภัยเหล่านี้แล้ว จะได้เป็นข้อมูลที่ง่ายต่อการดำเนินการ จึงได้แวะไปดูไว้ ” ในข้อตกลงของ KIO กับรัฐบาลนั้น เกี่ยวกับเรื่องการจัดที่อยู่อาศัยให้กับผู้ลี้ภัยชาวคะฉิ่น ก็มีอยู่ในหัวข้อเหล่านั้นด้วย  

อย่างไรก็ตาม เพื่อจะได้ไปทำการเจรจาทางการเมืองและเรื่องด้านการทหารก็ยังมีอยู่อีก  จะได้เตรียมการ

จะได้หันไปช่วยเหลือในเรื่องของผู้ลี้ภัยนั้น คงจะไม่เกิดขึ้นง่ายนัก เนื่องจากสถาการณ์ยังเป็นอยู่อย่างนี้นั้นเอง   เพื่อที่จะให้การช่วยเหลือแด่พวกลี้ภัยเหล่านั้น จากสถานฑูตสหรัฐจึงต้องขออนุญาตต่อรัฐบาลไว้อย่างนั้น  พวกนักวิเคราะห์พากันโจทจารกัน
ช่วงนี้ ในพื้นที่ของรัฐคะฉิ่นนั้น มีผู้ลี้ภัยสงครามอยู่ประมาณ หนึ่งแสนคน  ค่ายอพยพนั้นมีอยู่ประมาณ 130 แห่ง 

ในบรรดาค่าย 130 แห่งนั้น ค่ายที่อยู่ในเขตปกครองของรัฐบาลอยู่ประมาณ 100 ค่าย  ในพื้นที่ของ KIO นั้น มีอยู่ประมาณ

40 ค่าย เหล่าผู้รับผิดชอบค่ายนั้นกล่าว ตัวแทนของ UN บีเจเบีย ที่ร่วมไปกับคณะของ พล ต.ก่อมมอ ได้ไปเยี่ยมเยียนผู้ลี้ภัยสงคราม ที่อยู่ใน อเมืองไวโมนั้นด้วย
สถานการณ์ในการเจรจาเป็นเช้นไรนั้น พล ต. ก่อมมอ ได้เล่าให้ผู้ลี้ภัยนั้นรับรู้ด้วยเช่นกัน“ พวกเราไม่คาดหวังที่จะความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายนี้เลย  พวกเราอยู่กันมาเกือบ 2 ปี แล้ว พวกเราไม่ได้รับความช่วยเหลือจากองค์กร NGO ใดเลย เคยอยู่มาอย่างยากลำบากมานานแล้ว  ได้มาถึง มาให้กำลังใจ มารับข้อมูลไปอย่างนี้ พอใจอยู่แล้ว” ผู้ลี้ภัยสงครามคนหนึ่งกล่าว ผู้ลี้ภัยเหล่านี้ ได้หนีมาจากพื้นที่ ที่เกิดการปะทะกันอย่างรุนแรงทั้งหมด  หมู่บ้านก็ถูกเผา  พื้นที่ทำกินก็เสียหายไปหมด

กลายเป็นผู้ไร้ที่อยู่อาศัยยังสิ้นเชิงไปแล้ว “ ผู้ลี้ภัยสงครามที่อยู่ในค่าย ไวโม เหล่านี้ มาจากพื้นที่ ที่ปะทะกันอย่างรุนแรง เช่น นามซัมยาน , ซัมปะราปอม เป็นต้น จะได้กลับไปยังพื้นที่ของตนอีก บ้านช่องก็ไม่มี สวน ไร่ นา ก็ไม่มีอีกแล้ว ได้เสียไปในระหว่างการสู้รบไปจนสิ้น  ตอนนี้ก็ยังกลับไปไม่ได้อีก  กลับไปจะได้อยู่อาศัยก็ไม่ใช่เรื่องง่าย” ผู้ลี้ภัยสงครามนั้น มีอยู่ 5 ระดับ  ผู้ลี้ภัยสงครามที่เข้าไปที่ค่ายของ NGO ที่เปิดไว้ , ผู้ลี้ภัยสงครามที่เข้าไปอยู่ในค่าย

กลุ่มที่วัดที่เปิดไว้ในเมือง , ผู้ลี้ภัยสงครามที่หลบอยู่ที่บริเวณป่าเขา , ผู้ลี้ภัยสงครามที่เข้าไปอยู่ในค่ายลี้ภัยพร้อมกับกลุ่มติดอาวุธ ของกลุ่มชาติพันธุ์

และผู้ลี้ภัยสงครามที่เข้าไปอาศัยอยู่กับญาติพี่น้อง นี่คือห้าระดับที่มีอยู่  เนื่องจากสถานการณ์เป็นอย่างนี้นั้นเอง สถานฑูตของสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในประเทศพม่านี้  ในหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องสันติภาพของประเทศพม่า  เพื่อจะได้ปฏิรูปและพัฒนาขึ้นไปพร้อมๆกัน

 เพื่อจะได้กลัมมาสามัคคีพร้อมเพรียงกันและช่วยเหลือเกื้อหนุนต่อกัน ได้หวังไว้อย่างนั้น  ด้วยเหตุนั้นเอง ดูจากความการุณาปราณีที่มีต่อเพื่อนมนุษย์นั้นแล้ว  ในเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองและเรื่องการทหาร จุดที่ควรให้ความช่วยเหลือก็ต้องปรึกษาหารือกับองค์การหสประชาชาติ กับกลุ่มที่มีอุดมการณ์เดียวกัน  แล้วดูแลคุ้มครองไปอย่างใกล้ชิด  จึงได้ประกาศออกมาอย่างนั้น.....

0 comments:

Facebook Fan Page