แม้จะบอกว่าพวกลี้ภัยกลับภูมิลำเนาได้ แต่สถานการณ์ที่จะไว้วางใจได้นั้นยังไม่มีเลย
อ้ายป้อน นักข่าวเอกชนมอญ: อังคาร ที่ 14 พ.ค 56 :สำนักข่าวสารหงส์ทอง
ภาพจาก facebook Lway Khayay Pwint
ตาม
ข้อตกลงในการเจรจาของพรรค SSPP/SSA กับตัวแทนของรัฐบาลนั้น
แม้จะอนุญาตให้พวกลี้ภัยกลับภูมิลำเนาได้ก็ตาม แต่สถานการณ์
ที่จะไว้วางใจได้นั้นยังไม่มีเลย
สมาชิกด้านภาษาและวัฒนธรรมระดับนายอำเภอของตะไอ/ปะหล่องและเป็นตัวแทนของ
ค่ายอพยพที่ตะยานนั้นกล่าว
“วันที่ 11 พ.ค 56 นั้น พวกเขาพบปะและเจรจากันเป็นที่เรียบร้อย
และมาดูพวกลี้ภัยชาวตะไอที่อาศัยอยู่ที่วัดอ่องมิงกะลา เมืองตะยาน
พร้อมกับพูดว่าต่อไปนี้การสู้รบไม่มีอีกแล้ว กลับกันได้แล้ว
และพูดว่าจะส่งกลับอีกด้วย แม้จะแบ่งข้าวแล้วปล่อยให้กลับไปได้
แต่สำหรับพวกเขาแล้วความสงบสุขนั้น ยังไม่น่าไว้วางใจได้เลย ”
ใน
วันที่ 11 พ.ค 56 นั้น ตัวแทน SSPP
กับตัวแทนของรัฐบาลได้พบปะเจรจากันที่เมืองตะยาน ตัวแทนของรัฐบาลกล่าวว่า
ที่เมืองตะยานนี้มีชาวปะหล่องลี้ภัยสงครามอยู่ประมาณ 600 คน แต่ทาง TNLA
นั้นกล่าวว่า ในพื้นที่ปะหล่องนั้น มีผู้ลี้ภัยสงครามชาวปะหล่องประมาณ
3,000 คน
ใน
วันที่ 12 พ.ค 56 นั้น พ.ต.ไซละของ SSPP/SSA
ได้มาพบปะกับพวกลี้ภัยชาวตะไอที่เมืองตะยาน แล้วได้ให้การช่วยเหลือ
ข้าวสาร 400 กระสอบ แล้วค่ายอพยพสองค่ายที่อยู่ในเขตเมืองมอก่อง
ก็ได้ไปให้การช่วยเหลือข้าวสาร 600 กระสอบ เช่นกัน อูหม่องโก กล่าว
นอกจากนั้น “ ที่ยิงกันอยู่ในขณะนี้นั้น เพื่อที่จะได้ยุติลงนั้น
ได้เจรจากับตัวแทนของรัฐบาลไว้แล้ว กลับภูมิลำเนาของตนได้” พ.ต.ไซละ
ก็กล่าวไว้เช่นกัน
“
ว่าไม่ยิงกัน แม้จะพูดอย่างนั้น แต่สถานการณ์ใช่ว่าจะไว้วางใจได้
ที่ได้เห็นกันตามตา คือผู้ลี้ภัยชาวคะฉิ่นที่อยู่ในรัฐคะฉิ่นนั้นเอง
ฝ่ายรัฐบาลพูดอยู่บ่อบๆว่า ไม่มีการสู้รบอีกแล้ว กลับกันได้
แต่ว่าการสู้รบนั้นยังมีอยู่จนทุกวันนี้ ตอนนี้สำหรับผู้ลี้ภัยตะยานนั้น
คิดว่ายังไม่สงบสุขเป็นแน่”
ใน
พื้นที่ของปะหล่องนั้น กำลังพลสำรองของรัฐบาลมีอยู่ประมาณ 4,000 นาย
แล้วได้ทำการบุก KIA TNLA และ SSPP ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัฐฉาน
ในวันที่ 19 มี.ค 56 ที่ผ่านมานั้น ได้ออกคำสั่งทหารไว้แล้ว
เนื่องจากต้องโจมตีขับไล่กกล. SSPP/SSA
ให้ออกจากสันเขาลัวลานและสันเขาลัวเซนั้นเอง
ทำให้ประชาชนในรัฐฉานต้องลี้ภัยสงครามกันเป็นจำนวนมาก
เพื่อ
ให้ผู้ลี้ภัยสงครามจะได้กลับภูมิลำเนาของตนนั้น
ไม่ว่าทางรัฐบาลจะพูดอย่างไรก็ตาม ในพื้นที่ลัวลาน ลัวเซ
และพื้นที่ของกองพลน้อยที่ 4 ของ KIA ที่อยู่ทางตอนเหนือของรัฐฉานนั้น
กกล.ของรัฐบาลเต็มทั่วพื้นที่และยังกระจัดกระจัยอยู่อีก
และพร้อมที่จะเกิดการปะทะกันได้ทุกเมื่อ ประชาชนในพื้นที่พากันกล่าว
กอง
หนุนที่เข้าไปอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวนั้น หากทางรัฐบาลถอนออกไป
ผู้ลี้ภัยทั้งหลายก็จะพากันกลับภูมิลำเนาของตนยังแน่นอน
อยากจะพ้นอันตรายจึงต้องทิ้งบ้านช่องพากันหนีเพื่อเอาตัวรอด
ไม่ว่าใครก็อยากจะกลับภูมิลำเนาของตนกันทั้งนั้น
ที่ชีวิตต้องเป็นผู้ลี้ภัยสงครามนั้น ผู้กระทำเป็น กกล.ของรัฐบาลเอง
ตอนนี้ยุให้กลับไปอีกนั้น เป็นการเรียกร้องความสนใจเท่านั้นเอง
ประชาชนในพื้นที่พากันกล่าว
ที่
กดขี่ข่มเหง ทรานฆ่าและละเมิดทางเพศนั้น กกล.รัฐบาลเองเป็นผู้กระทำไว้
ได้เคลื่อนกกล.มาอย่างมากมากแล้วมาทำสงครามนั้น
เป็นเหตุจูงใจให้ทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ได้รับความเสียหาย
แล้วก่อให้เกิดผู้ลี้ภัยสงครามขึ้นมาก็เพราะการก่อสงครามของรัฐบาลนั้นเอง
กลุ่มอำนวยความสะดวกด้านมนุษย์คอยดูแลอยู่
สำหรับ
ผู้ลี้ภัยที่มาถึงเมืองตะยานนั้น กลุ่มอำนวยความสะดวกด้านมนุษย์
ของ(ไทยใหญ่) ที่ใช้นามว่าเมตตาซิดไวย์(เมตตาวงใหม่) ได้เปิดศูนย์ขึ้นมา
แล้วรับหน้าที่คอยดูแลและให้การช่วยเหลืออยู่ .....
0 comments:
Post a Comment